ชื่อเรื่อง | การพัฒนาสายพันธุ์ไม้สักเพื่อการปลูกสร้างสวนป่าเศรษฐกิจ |
---|---|
ผู้แต่ง | สาโรจน์ วัฒนสุขสกุล |
ปีที่เผยแพร่ | 2560 |
รูปแบบการเผยแพร่ | รายงานการประชุม |
บรรณานุกรม | สาโรจน์ วัฒนสุขสกุล. 2560. การพัฒนาสายพันธุ์ไม้สักเพื่อการปลูกสร้างสวนป่าเศรษฐกิจ, น. 8-17. ใน การสัมนาทางวนวัฒนวิทยา ครั้งที่ 8 |
พรรณไม้มีค่าที่เกี่ยวข้อง | สัก |
วิชาการที่เกี่ยวข้อง | การปรับปรุงพันธุ์/การคัดเลือกสายพันธุ์ สายต้น ถิ่นกำเนิด/การปรับปรุงคุณภาพกล้าไม้ |
สรุปย่อบทความ | การพัฒนาพันธ์ุไม้สักในประเทศไทยได้ดําเนินการอยางเป็นขั้นตอนมากว่า 40 ปี หลังจากการลงนาม ความร่วมมือระหวาง DANIDA (Danish International Development Assistance) ของประเทศเดนมาร์กับรัฐบาลไทย โดยกรมป่าไม้จัดตั้งศูนย์ บํารุงพันธุ์ม้สักขึ้นเมื่อต้นปี พ.ศ. 2508 มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงพันธุ์ไม้สักให้มีคุณภาพทางพนธุ์ดีขึ้น และหาเทคนิคการขยายพันธุ์ไม้สักพันธุ์ดีสําหรับการปลูกสร้างสวนป่า ได้ทดสอบถิ่นกำเนิด สํารวจและคัดเลือกแม่ไม้ จากแหล่งต่าง ๆ มาเก็บรวบรวมสร้างเป็นสวนรวมพนธุ์ สร้างสวนผลิตเมล็ดพันธุ์สร้างสวนผสมพันธุ์ทดสอบแม่ไม่ ้ควบคุมการผสมเกสร ทดสอบสายพันธุ์ และ การทดลองทางด้านวนวัฒน์ ปัจจุบันได้พัฒนาสายพันธุ์ไม้สักโดยการสร้างสายพันธุ์ใหมๆ่ จากการควบคุม ผสมเกสรของพ่อ – แม่ไม้ ที่ผ่านการทดสอบแล้ว เพื่อผลิตกล้าไม้สักพนธุ์ดีที่มีอัตราการเจริญเติบโตทาง เส้นผ่าศูนย์กลางที่ระดับอกไม่น้อยกวา 2 เซนติเมตรต่อปี หรือความเพิ่มพูนรายปีเฉลี่ย 2.5 ลูกบาศกเมตรต่อไร่ต่อปี และขยายพันธุ์แบบไมอาศัยเพศ ด้วยการเพาะเลี้ยงเนือเยื่อควบคู่กับการปักชํา สําหรับปลูกทดสอบ และ สงเสริมให้มีการปลูกสร้างสวนป่าไม้สักเศรษฐกิจจากกล้าไม้ที่ผานการปรับปรุงพันธุ์แล้ว |